Tranfusion of blood product
แต่ละถุง Hct 55-80%
Whole blood นั้นจะเป็น ideal สำหรับการ Rx acute blood loss
แต่การเก็บ whole blood นั้นจะทำให้ plt และ factor ต่างๆ inactive
และอายุในการเก็บ whole blood นั้นจะสั้น
PRC
จะปั่นแยกจาก whole blood และใส่ตัว presevation
|
ให้ผู้ใหญ่ 1 u (250 ml) เพิ่ม Hct ได้ 3%
ในสมัยก่อนใช้ 10/30 rule
Hb 10 Hct 30 เป็น indication ในการให้เลือด
แต่หลังๆ ช่วง 1980 จะ concern เรื่อง
blood bornd มากขึ้น
มีการศึกษา
Hb <6 ใน animal เริ่มมี cardiac effect
Hb <7 post op mortality เพิ่ม
Hb <10 ใน sepsis จะไม่ดี
โดยรวม ถ้า Hb อยู่ 6-10 เป็น จุดที่clinician ต้อง
ตัดสินใจว่าจะให้หรือไม่ ขึ้นอยู่กับ condiction
ของคนไข้แต่ละคน
ใน emergency condition
อาจให้ group O Rh -ve
เพราะ group O Rh +ve
โดยเฉพาะในคนท้อง 80% สร้าง anti Rh antibody
ขึ้นมา
การให้ PRC แนะนำให้ 2 unit เนื่องจาก 1 unit of PRC
ปริมาณค่อนข้างน้อย และ ไม่ค่อย improove clinical
ส่วนในเด็ก PRC 15ml/kg rise Hct 6% , Hb 2
Leukocyte reduce PRC จะเอา leukocyte ออก ประมาณ 80%
ข้อดีคือ
1. ลดเรื่อง non-hemolytic febrile reaction
จากการทำปฏิกิริยาของ Ab ต่อ WBC
2. ลด sensitization ในรายที่ต้องทำ bone marrow transplant
3. ลด rate transmittion HIV CMV
rate การให้
ถ้า hemodynamic unstable ให้เร็วๆได้
ถ้า stable ดีให้ drip ใน 1-4 hr
แต่ถ้ากลัว volume overload
อาจบอก blood bank แบ่งมาให้ทีละ 1/2 u
แล้ว drip 1/2 u ละ 4 hr โดยอีกครึ่งให้ blood bank
เก็บไว้ก่อน
Plalet transfusion
Plt 1 unit / BW 10 kg rise Plt 50,000
(plt 5 unit ในคนไข้หนัก 50 จะเพิ่ม 50,000)
การให้ plt นั้นขึ้นกับ ethiology ของการเกิด thrombocytopenia
เช่น ITP Plt จะต่ำแต่ plt function ดีมาก
plt ควรให้ให้ตรง group เหมือนกัน
ถ้าให้ ต่าง group (type)
จะทำให้ Half life สั้นลง
|
ส่วนเรื่อง nonfunctional plt with bleeding
นั้นยังไม่ clear ในการให้ plt
Relative contraindication for Plt tranfusion
-TTP
-Heparin induce thrombocytopenia
Fresh frozen plasma
- เป็น whole blood ที่เอา PRC , Plt ออกแล้ว
นำไปแช่แข็ง 8 hr
1 unit มี 200-250 ml
1 unit จะมี 1 unit ของแต่ละ factor/ml
และมี 2 mg ของ fibrinogen/ml
- FFP จะมี INR 0.9-1.2 ดังนั้น
จะไม่ค่อยลด INR ลงมาได้เกิน 1.2-1.3
ส่วนการให้ FFP เพื่อ correct นั้น
แนะนำให้ 15ml/kg หรือ 4 u in adult 70 kg
เพื่อ correct
(7-8 ml/kg rise factor by 10%)
Cryoprecipitate
มี fibrinogen 225 mg , Factor 8 80 u
vWF per 1 unit 20-50 ml
|
Massive tranfusion
definition คือ การให้ PRC >= 10 unit / 24 hr
indication
1. plalet count <50,000
2. INR >1.5
3. fibrinogen <100 mg/dl
ตอนที่ massive transfution อาจให้
PRC : FFP : Plt
1:1:1
ระวัง hypothermia -> warm เลือดก่อนให้
hypocalcemia จาก citrate ให้ monitor clinical
hypocalcemia
Complication จากการให้เลือด
อันดับแรกที่ต้องทำ
คือ หยุดให้เลือด และแจ้ง blood bank
โดยอาการที่เกิดจากการให้เลือดนั้น
อาจจะเป็นแค่ mild หรือ lift threatening ก็ได้
Transfusion reaction
(แยกเอง)
1. hemolysis group
- intravascular : เร็ว และ รุนแรง ปัสสาวะเข้ม อาจ BP drop
- extravascular : delay วัน เป็น wk ไม่แรงมาก
2. non hemolysis group
- febrile tranfusion reaction
3. allergic symptom
1. hemolysis group
โดยตัวของ hemolytic tranfusion reaction
นั้นถ้าเกิดเร็วๆ (Immediate) ส่วนมาก
ไม่ใช่จาก ABO incompate แต่มาจาก
human error ในการ cross match
หลังจากการเกิด hemolysis แล้วเม็ดเลือดที่ได้รับเข้าไป
จะถูก hemolysis สลายไปหมด
และกระตุ้นให้เกิด DIC และ coagulopathy
และหยุดให้เลือด check lab
E'lyte , coag ,bun , cr
treat supportive check urine output
recross match at blood bank
blood in pateint
-haptoglobin decrease
-lactate dehydrogenase
-coomb test +ve
ปัจจัยที่จะเพิ่ม morbid mortal จะแปรผันตรงกับปริมาณเลือดที่ได้ไป
ดังนั้น ในกรณีที่ไม่รีบให้เลือด แนะนำให้ เลือดปริมาณช้าๆ
ใน 30 นาทีแรกเพื่อป้องกัน reaction
ส่วนพวก extravasation hemolysis
นั้นมักเกิดที่ spleen , liver , bone marrow
และมักไม่รุนแรง
blood in patient
- coomb test +ve
- unconjugate bilirubin elevate
2. non hemolytic group
-Febrile tranfusion reaction
ส่วนมากจะเกิดใน case ที่ได้เลือด
ที่ไม่ใช่ lukocyte poor PRC
ถ้าได้ lukocyte poor PRC
จะช่วยลดได้ 20%->2%
อาการในช่วงแรกจะแยกยากกับ กลุ่ม hemolytic group
คือจะมีไข้ chill ปวดหัว ปวดเมื่อยตัว
dyspnea tachycardia
ส่วนมากจะเกิดจากร่างกายของคนรับเลือด
สร้าง antibody ต่อ leukocyte ของผู้ให้เลือด
และ นอกจากนี้ยังมี cytokine ที่อยู่ในถุงเลือด
การรักษาเหมือนกับกลุ่ม hemolytic
เพราะแยกกันยาก
อาจให้ premed
|
อาจพอช่วยลดอาการได้
+- ส่ง Hemoculture เพราะอาจแยกกับ sepsis ยาก
3. Allergic symptom
ส่วนมากเกิดจาก immune response ต่อ plasma protein
และอาการมักเป็นไม่มาก
อาจจะมีผื่นขึ้นและคัน
ให้ antihistamine และดูอาการ
แต่ถ้า อาการรุนแรงให้หยุดและ evaluate ซ้ำ
Transfusion Associate Acute lung injury
ส่วนมากเป็นจาก FFP or Plt transfusion
Extreme rare จาก PRC
จะมี clinical เป็น non cardiogenic pulmonary edema
ภายใน 6 hr หลังจากการให้เลือด
และส่วนมากอาการมักเป็นไม่มากและหายไปเอง
|
Infection control
สรุป screen infection
HIV , Hep B+C , Syphillis
west nile virus
Hep B พบมากสุดในการ tranfusion
Rate การให้เลือด 2-4 ml/kg/hr -> normal rate 1 ml/kg/hr อาจให้ในกรณีที่ pt มี risk overload อาจให้ lasix ร่วม E'lyte imbalance อาจเกิด hypocalcemia , hyper/hypo kalemia |