วันจันทร์ที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

Rabies

Rabies

Epidimeology
โดยทั่วไปแล้ว สัตว์ที่เป็นต้นเหตุของการ
ติดเชื้อมีมากมายจากรายงานการโดนกัด
-raccoons (36.6%)
-bats (27.2%)
-skunks (20.4%)
-foxes (6.7%)
-and other wild animals including 
coyotes, opossums, otters, bobcats, rodents, and lagomorphs (rabbits, hares, and picas) (1.8%). 
-Rabid domestic animals included cats (3.8%); 
-dogs (1.3%); 
-cattle (0.79%); 
-horses, donkeys, and mules (0.58%); 
-sheep, goats, and camels (0.18%); 
-and other animals such as ferrets (0.04%). 

แต่สัตว์กลุ่มต่อไปนี้แทบจะไม่มีเชื้อเลย
squirrels (กระรอก)
hamsters 
guinea pigs(หนูทดลอง)
gerbils (สัตว์กลุ่มคล้ายหนู)
chipmunks(พวกกระรอก กระแต)
rats, mice 
domesticated rabbits
and other small rodents.
อาจไม่จำเป็นต้องฉีด

Microbiology
Rabies เป็น RNA virus
เป็น family Rhabdoviridae มีหลาย genotype
แต่ตัวที่ infect ในคนและสัตว์ มี 2 genotype

Vesiculovirus (Latin vesicula, "little bladder").
- พบได้ใน ม้า วัว และสัตว์มีกระดูกสันหลัง
Lyssavirus (Greek Lyssa, "frenzy")
- พบได้ในพวกค้างคาว แต่ rarely สำหรับการติดเขื้อในคน

Pathophysiology
เชื้อvirus จะอยู่ในน้ำลายของสัตว์เวลา
โดนกัดเชื้อจะอยู่ใน muscle 
incubation period จะอยู่ได้ 20-90 วัน
หลังจากนั้นจะวิ่งเข้า motor end plate 
ไปยัง CNS และ replication in gray matter
จากนั้นจะกระจายกลับออกมาทางเส้นประสาท
ไปเลี้ยง organ ต่างๆของร่างกาย

โดยทาง histo แล้วการติดเชื้อจะเป็นแบบ encephalitis
จะมี PMN , lymphocyte , plasma มา infill
และอาจมี focal hemorrhage demyeline
โดยเฉพาะตรง gray matter, basal gg , spinal cord
ส่วน Negri body เกิดจากการรวมตัวของ eosinophill
ใน cerebral neuron เกินในสมอง
ซึ่ง high specific for rabies
(pathognominic)

การติดเชื้อเป็นได้หลายทาง
1. ผ่าน mucosal membrane
(eye,nose,mouth)
2. การหายใจเช่น สำรวจถ้ำค้างคาว
3. ทำงานให้ห้อง lab rabies
4. organ transplant
5. inactivated vaccine

ส่วนแผลที่เกิดจากการถูกสัตว์ทำร้าย
โอกาศติดจะขึ้นกับ
จำนวน , ความลึก , ตำแหน่ง , ลักษณะแผล

Risk of Rabies in the Absence of Postexposure Prophylaxis after Exposure to a Rabid Animal
Multiple severe bites around the face: 80%–100%
Single bite: 15%–40%
Superficial bite(s) on an extremity: 5%–10%
Contamination of an open wound by saliva: ~0.1%
Transmission via fomites (e.g., tree branch): theoretical (no cases reported)
Indirect transmission (e.g., raccoon saliva on a dog): theoretical (no cases reported)


Preexplosure prophylaxis
Rabies Preexposure Prophylaxis Schedule—U.S., 2008
Type of ImmunizationRouteRegimen
PrimaryIntramuscularHDCV or PCECV; 1.0 mL (deltoid area), one each on days 0,* 7, and 21 or 28
BoosterIntramuscularHDCV or PCECV; 1.0 mL (deltoid area), one each on day 0* only
การให้ Prophylaxis จะฉีด IM เท่านั้น
ส่วนจะ booster เมื่อไหร่ขึ้นอยุ่กับปัจจัยเสี่ยง
หรือ การส่ง lab เพื่อ confirm ว่ามี immune แล้ว

การได้ preexplosure prophylaxis นั้น
ไม่ได้หมายความว่าหลังโดนกัดจะไม่ต้องรักษา
แต่จะลดจำนวน dose ของ vaccine และ
ไม่จำเป็นต้องใช้ Immunoglobulin

Risk assessment for post explosure prophylaxis
ให้ระวัง life threatening condition
เช่น pneumothorax , arterial puncture 
พิจารณา TT , ATB 
การล้างแผลสามารถลดเชื้อ rabies ลงได้มาก
 


คำว่า bite หมายถึงการที่ฟันสัตว์ผ่านทะลุ skin
ส่วนตำแหน่่งที่โดนกัดไม่ได้เปลี่ยน line การรักษา


Non bite explosure
เช่น การ contaminate แผล หรือ mucous membrane จาก
infected material (เช่นสมองสัตว์ที่เป็น rabies)
โอกาสการติดเชื้อค่อนข้างน้อยมาก ถ้าไม่ได้มาจากการกัด
ดังนั้นอาจไม่จำเป็นต้องให้ prophylaxis
ยิ่งถ้าแห้งแล้วยิ่งไม่ติด

Explosure to bat
โดยปกติแล้วถ้ามีการ direct contact
แล้วอาจมีการติดเชื้อได้
ดังนั้นในคนที่อยู่ในห้องร่วมกับค้างคาว
และคนที่อยู่ในห้องแต่ไม่แน่ใจว่ามีการ 
contact หรือไม่ หรือผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัวหรือช่วยเหลือตัวเองไม่ได้
แนะนำให้ให้ post explosure prophylaxis

Person to person transmittion
ใน secretion ของ respiratory fluid 
ส่วนมากจะมีเชื้อ rabies 
ดังนั้นถ้าบุคลากรทางการแพทย์สัมผัส
กับเสมหะ แล้วแนะนำให้ PEP ด้วย


Post explosure prophylaxis
การฉีด vaccine แนะนำให้ฉีดตาม guideline PEP เสมอ
มีพวกที่เป็น rabies ส่วนมากจะเป็นจากการไม่ทำตาม guideline
เช่น ไม่ได้ล้างแผล ไม่ได้ RIG , ไม่ได้ฉีด rabied เข้า deltoid

vaccine 
ส่วนมากจะทำให้ภูมิขึ้นภายใน 7-10 วันหลังได้ vaccine
reaction ส่วนมากจะเป็น local reaction
มากกว่า systemic reaction ไม่ค่อยพบ
ไม่ค่อยพบ anaphylaxis
แต่ PCECV ห้ามให้ในรายที่แพ้ไข่
และไม่แนะนำให้หยุดฉีดถึงแม้จะมี local reaction
หรือ mild systemic reaction เพียงเล็กน้อย
ในปี 2010 ACIP แนะนำให้ฉีด 1 ml M at day 0,3,7,14
สำหรับคนที่ไม่เคยฉีด vaccine 
มาก่อน และ ไม่ได้ immunosuppression

Human rabies immunoglobulin
HRIG นั้นแนะนำให้ให้ภายใน 7 วันหลังโดนกัด
หลัง 7 วันแล้วไม่แนะนำให้ให้และการฉีดไม่ควรฉีดที่เดียวกับ
ที่ให้ vaccine หรือ ผ่าน syring เดียวกัน
ฉีดได้ทุกแผลยกเว้นแต่ tissue ที่แน่นๆ เช่น ปลายนิ้ว


WHO for rabies
เหมือนเดิม class 1-2-3

updated Thai Red Cross regimen 
("2-2-2-0-2") is 0.1 mL ID Lt and Rt arm
 on days 0, 3, 7, and 28
เพื่อช่วยลดการเปลืองยา
แต่ให้ใช้ PCECV

Eight-site intradermal regimen 
("8-0-4-0-1-1") 0.1 ml แบ่งฉีด 8 จุด 
Day 1 -> 0.1 ml แบ่งฉีด arm , thigh , suprascapular , lower abd
Day 2 -> 0.1 ml แบ่งให้ arm , thigh


Spacial population

สำหรับในรายที่เคยได้ vaccine มาแล้ว
ให้ฉีด booster 1 ml แบ่งฉีด 2 ข้าง
(รวม 2 ml) at day 0 , 3
แต่ไม่จำเป็นต้องให้ HRIG
ในรายที่ฉีด preexplosure หรือ post explosure ครบ

immunocompromise patient
แนะนำให้ให้ปกติ เพราะ vaccine 
เป็น inactivated virus
ยาที่เป็น immunosuppression ควรที่
จะหยุดให้ในตอนช่วงให้ vaccine ยกเว้น
แต่จำเป็นต้องให้ต่อเนื่องจริงๆ
และแนะนำอาจต้องมาตรวจเพื่อ check level 
ของ immune at 1-24 wk

Traveler
อาจจะมีการกิน chloroquine phosphate
ซึ่งอาจมีผลต่อการ response ต่อ vaccine
แนะนำให้ ฉีด IM route

Pregnancy
ไม่ใช่ contraindication ในการให้

children
dose of HRIG คิดตาม BW
ส่วน vaccine ให้ dose เท่าผู้ใหญ่



------------------------------------------------------------------------

Rabies

Natural History of Clinical Rabies in Humans
Clinical StageDefining EventUsual DurationCommon Symptoms and Signs*
Incubation periodExposure20–90 dNone
ProdromeFirst symptom2–10 dPain or paresthesia at site of bite
Malaise, lethargy
Headache
Fever
Nausea, vomiting, anorexia
Anxiety, agitation, depression
Acute neurologic phaseFirst neurologic sign2–7 dAnxiety, agitation, depression
Hyperventilation, hypoxia
Aphasia, incoordination
Paresis, paralysis
Hydrophobia, pharyngeal spasms
Confusion, delirium, hallucinations
Marked hyperactivity
ComaOnset of coma0–14 dComa
Hypotension, hypoventilation, apnea
Pituitary dysfunction
Cardiac arrhythmia, cardiac arrest
Death or recovery (extremely rare)Death or initiation of recoveryMonths (recovery)Pneumothorax
Intravascular thrombosis
Secondary infections

ใน prodrome phase อาการจะไม่ specific

ส่วนในระยะ acute neurological symptom
จะแบ่งเป็น 
80% Furious symptom : hyperactivity
20% Paralytic rabies : paralytic and may like Guillain-Barré syndrome

ส่วนระยะ coma ส่วนมากจะเกิดภายใน 10 วันหลังจากมีอาการ

DDx 
- tetaneus นั้นจะแยกจาก rabies ตรง 
concious Tetaneus นั้นจะ concious ดี

other DDx
poliomyelitis, Guillain-Barré syndrome,
 transverse myelitis,
 postvaccinial encephalomyelitis,
 intracranial mass lesions, 
cerebrovascular accidents, 
poisoning with atropinelike compounds,
 viral encephalitis.

Ix
ไม่มี specific investigation
อาจส่ง serum , CSF , saliva
หรือ skin ที่มีเส้นประสาทมาเยอะ
เช่นพวก 
nuchal skin (neck)
เพื่อหาตัว Antibody ที่จะขึ้นในราย
ที่มีประวัติไม่เคยได้ vaccine

การรักษา
ไม่มี specific threatment
และ steroid จะยิ่งเพิ่ม mortality rate มากขึ้น ห้ามให้


----------------------------------------------------------------------------


ตาราง ไทย

Post explosure prophylaxis IM



ID route

2 ความคิดเห็น: